กำลังโหลดข้อมูล กรุณารอสักครู่ ...
 โรงเรียนบ้านป่าส่าน BanpasanSchool     ตำบลพระยืน อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น สพป.ขอนแก่น เขต 1


ประกาศเจตนาสุจริตต้านคอรัปชั่น

 

โรงเรียนบ้านป่าส่าน ประกาศเจตนาการทำงานสุจริต ป้องกันการทุจริต ประพฤติมิชอบ ต้านโกงทุกรูปแบบ ทั้งนี้ มีนโยบายNo gift Policy คือ บริหารงานตามหลักธรรมาภิบาล งดรับ งดให้ของรางวัล กำนัล แก่ข้าราชการในทุกโอกาส ต้านทุจริต โปร่งใส คุณภาพ คุณธรรม สร้างการมีส่วนร่วมและประสานการทำงานร่วมกันอย่างยั่งยืน ทุกภาคส่วน

More...
ประกาศเจตนาสุจริตต้านคอรัปชั่น

โรงเรียนบ้านป่าส่านยินดีต้อนรับ

 

โรงเรียนบ้านป่าส่าน อำเภอพระยืน จังหวัดขอนแก่น สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ขอนแก่น เขต 1

More...
โรงเรียนบ้านป่าส่านยินดีต้อนรับ
ข้อมูลพื้นฐาน     หน้าแรก
Language:
Access มุมสมาชิก
 
   Access to management
User
Password
 
ข้อมูลสารสนเทศ
   ข้อมูลนักเรียน
   ข้อมูลเขตบริการ
   ข้อมูลที่ดิน สิ่งก่อสร้าง
   ข้อมูลพื้นฐาน
 
เอกสาร คู่มือ
    ข้อมูลO-NET
    ข้อมูล NT
    ข้อมูล RT
    กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
    Q&A
 
ลิ้งค์แนะนำ(เปิดหน้าต่างใหม่)
    โรงเรียนประชารัฐ
    โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
    โรงเรียนดีประจำตำบล
    โรงเรียนสุจริต
   
   
Breaking News
  Latest News

ขอต้อนรับสู่รั้วโรงเรียนบ้านป่าส่าน

 
Social Network

 

ไทยรัฐ | เดลินิวส์ | มติชน| คม ชัด ลึก| ข่าวสด เนชั่นแนล Geographic | ห้องสมุดรอบโลก | สวทช. ธรรมะไทย | พระไตรปิฎกออนไลน์ | ลานธรรมเสวนา
ธรรมะจักร | กัลยาณมิตร | พระธรรมกาย วิชาการ.คอม | ทรูปลูกปัญญา | สสส.| รักบ้านเกิด.

 
Statistic & Counter

ขณะนี้ออนไลน์: 1 คน

สถิติวันนี้:      13 คน

สถิติเดือนนี้:   638 คน

สถิติปีนี้:        4117 คน

สถิติทั้งหมด: 17434 คน

 

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙


เมื่อ [2022-06-19 12:54:00]

แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙
นำเสนอแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ - ๒๕๗๙ มีใจความสำคัญคือ ประเทศไทยได้ให้ความสำคัญด้านการศึกษาในฐานะกลไกหลักในการพัฒนาประเทศมาโดยตลอดและเนื่องจากแผนการศึกษาแห่งชาติฉบับเดิมได้สิ้นสุดลง กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา จึงได้จัดทำแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙ ฉบับนี้ขึ้น เพื่อวางกรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึงโอกาสและความเสมอภาคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ พัฒนากำลังคนให้มีสมรรถนะในการทำงานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและการพัฒนาประเทศ

คำนำ
บทสรุปผู้บริหาร
บทที่ ๑  สภาวการณ์และบริบทแวดล้อมที่มีผลต่อการพัฒนาการศึกษาของประเทศ

          ๑.๑ ความก้าวหน้าด้านเทคโนโลยี และการสื่อสารแบบก้าวกระโดดที่ส่งผลต่อระบบเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ภูมิภาค และของโลก
          ๑.๒ การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากร
          ๑.๓ ทักษะของประชากรในศตวรรษที่ ๒๑ : ทั่วโลกตั้งเป้าหมายสร้างให้ได้ และไปให้ถึงความต้องการกำลังคนยุค ๔.๐
          ๑.๔ สภาวการณ์การเปลี่ยนแปลงของโลก 
บทที่ ๒  ผลการพัฒนาการศึกษาไทย ปี ๒๕๕๒ - ๒๕๕๘
          
๒.๑ บริบทของการจัดการศึกษา    
          ๒.๒ โอกาสทางการศึกษา
          ๒.๓ คุณภาพการศึกษา
          ๒.๔ ประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอน
          ๒.๕ ประสิทธิภาพการบริหารจัดการสถานศึกษา
          ๒.๖ ประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณ
          ๒.๗ การพัฒนาการศึกษากับขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
          ๒.๘ สรุป
บทที่ ๓  ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษา
          
๓.๑ ปัญหาและความท้าทายที่เกิดจากระบบการศึกษา 
          ๓.๒ ปัญหาและความท้าทายจากสภาวการณ์ของโลกที่ประเทศต้องเผชิญ
บทที่ ๔  วิสัยทัศน์และเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
          
๔.๑ แนวคิดการจัดการศึกษา (Conceptual Design)
          ๔.๒ วิสัยทัศน์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Vision) 
          ๔.๓ พันธกิจ
          ๔.๔ วัตถุประสงค์ของแผนการศึกษาแห่งชาติ (Objectives) 
          ๔.๕  เป้าหมายด้านผู้เรียน (Learner Aspirations)
          ๔.๖  เป้าหมายของการจัดการศึกษา (Aspirations)
          ๔.๗  ตัวชี้วัดตามเป้าหมายของแผนการศึกษาแห่งชาติ
          ๔.๘  ระยะเวลาของการดำเนินงานตามแผนการศึกษาแห่งชาติ
          ๔.๙ บทบาทของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 
บทที่ ๕  ยุทธศาสตร์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และแนวทางการพัฒนา
          
ยุทธศาสตร์ที่ ๑  การจัดการศึกษาเพื่อความมั่นคงของสังคมและประเทศชาติ
          ยุทธศาสตร์ที่ ๒  การผลิตและพัฒนากำลังคน การวิจัยและนวัตกรรม เพื่อสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
          ยุทธศาสตร์ที่ ๓  การพัฒนาศักยภาพคนทุกช่วงวัย และการสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
          ยุทธศาสตร์ที่ ๔  การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษา
          ยุทธศาสตร์ที่ ๕  การจัดการศึกษาเพื่อสร้างเสริมคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
          ยุทธศาสตร์ที่ ๖  การพัฒนาประสิทธิภาพของระบบบริหารจัดการศึกษา 
บทที่ ๖  การขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          
๖.๑  หลักการและแนวทางในการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          ๖.๒  การดำเนินการขับเคลื่อนแผนการศึกษาแห่งชาติสู่การปฏิบัติ
          ๖.๓  การติดตามประเมินผลแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙
          ๖.๔  ปัจจัยและเงื่อนไขความสำเร็จ (Key Success Factors)
บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะผู้ดำเนินการ

2).
http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CAT0000018 ดูขนาดภาพจริง
ที่มา:  คลิกที่นี่http://www.onec.go.th/th.php/page/category/CAT0000018